Nội dung bài viết
logo กระทรวงสาธารณสุข
นอกจากการดูบทความนี้แล้ว คุณยังสามารถดูข้อมูลที่เป็นประโยชน์อื่นๆ อีกมากมายที่เราให้ไว้ที่นี่: ดูเพิ่มเติม
สสส.ยื่นหนังสือกระทรวงสาธารณสุข
นายคำรณ ชูเดชา ผู้ประสานงานขบวนการสร้างเสริมสุขภาพภาคประชาชน(ขสช.) พร้อมด้วยเครือข่ายชุมชนผู้ใช้แรงงาน องค์กรด้านเด็กและผู้หญิง เข้ายื่นจดหมายถึง นายแพทย์ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข
เพื่อถามถึงความคืบหน้าโครงการที่ภาคประชาชนขอรับงบสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนส่งเสริมสุขภาพ (สสส.) มากกว่า 500 โครงการแต่ยังไม่ผ่านการพิจารณาจากกระทรวงสาธารณสุข
โดยมีนายแพทย์โสภณ เมฆธน ปลัดกระทรวงสาธารณสุขเป็นผู้แทนรับไว้ และเครือข่ายได้ร่วมกันทำกิจกรรมเชิงสัญลักษณ์ชุด หยุดลอยแพโครงการประชน หยุดดองงานเพื่อสังคม
ที่อาคารสำงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข นนทบุรี เมื่อวันที่ 2 ก.พ.59
ภาพ รชานนท์ อินทรักษา (Rachanon Intharaksa)
หนังสือนักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ใหม่ล่าสุด 2558
หนังสือนักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ดูรายละเอียดเพิ่มเติม..คลิกที่นี่
http://ekaphol111.blogspot.com/2015/11/blogpost_11.html
“หมอระวี”จี้ รบ.เพิ่มงบกระทรวง สธ.เร่งบรรจุ จนท.สธ.เพิ่ม สร้างขวัญกำลังใจ หลังสู้ศึกโควิดมายาวนาน
วันนี้ (9 มิ.ย.) นพ.ระวี มาศฉมาดล ส.ส.บัญชีรายชื่อ พรรคพลังธรรมใหม่ อภิปรายถึง พ.ร.ก.ให้อำนาจกระทรวงการคลังกู้เงินเพื่อแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจและสังคม จากการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เพิ่มเติม พ.ศ. 2564 หรือ พ.ร.ก.กู้เงิน 5 แสนล้านบาท ว่า งบประมาณ 30,000 ล้านบาท ที่จัดสรรให้กับกระทรวงสาธารณสุขน้อยเกินไป รัฐบาลต้องเพิ่มงบให้เนื่องจากว่าในภาวะการต่อสู้กับโควิด19 ถือว่าเป็นสงครามชีวภาพ นักรบหลักทั่วโลก คือ บุคลากรสาธารณสุขที่เป็นกองหนุน เพราะฉะนั้นหน้าที่ของรัฐบาล คือ ให้ขวัญกำลังใจหลังเสร็จศึกโควิด บุคลากรทุกคนทุ่มเท เสียสละ ไม่ได้กิน ไม่ได้นอน เสี่ยงต่อการติดเชื้อโควิด สมควรได้รับสิ่งที่เป็นขวัญและกำลังใจ แม้ว่าที่ผ่านมารัฐบาลได้บรรจุข้าราชการไป 45,000 คนแล้ว แต่ปรากฏว่า เกิดปรากฏการณ์ฝนตกไม่ทั่วฟ้า กลายเป็นความเหลื่อมล้ำในกระทรวงสาธารณสุข
“ข้าราชการและพนักงานกว่า 100,000 คน ยังไม่ได้รับขวัญและกำลังใจจากรัฐบาลเลย เช่น พนักงานราชการสาธารณสุขรุ่นเดิม ที่ตอนเรียนไม่ได้จบปริญญาตรี แต่ตอนนี้ได้เรียนจบปริญญาตรีมากแล้ว คนที่ได้รับการบรรจุ คือ ลูกน้องของคนเหล่านี้ที่มีวุฒิปริญญาตรี แต่กลุ่มคนกลุ่มนี้สายงานในระดับทั่วไปตันแล้ว ไม่สามารถก้าวหน้าไปได้อีก อีกไม่นานคนที่รับได้การบรรจุก็จะแซงหน้าเจ้าหน้าที่ระดับทั่วไป ดั้งนั้น กระทรวงสาธารณสุขไม่ต้องใช้งบใหม่ เพื่อแค่เปิดโอกาสให้เจ้าหน้าที่เหล่านี้สามารถเปลี่ยนมาเป็นสายงานวิชาการ” นพ.ระวี กล่าว
นพ.ระวี กล่าวต่อว่า บุคลากรในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข สายสนับสนุน จำนวน 131 สายงาน และการบรรจุลูกจ้างประจำ พนักงานราชการ พนักงานกระทรวงสาธารณสุข ลูกจ้างชั่วคราว พนักงานเหล่านี้กว่าแสนคน ได้รับเงินเดือนรายวันน้อยกว่าค่าแรงขั้นต่ำ ทำงานมาเป็น 10 ปี อัตราเงินไม่มีการเพิ่มขึ้น คนงานต่างด้าวยังได้รับเงินเดือนมากกว่า ทั้งๆ ที่การทำงานมีความเสี่ยงที่จะติดเชื้อโควิด19 ซึ่งควรที่จะถูกเลื่อนมาเป็นลูกจ้างประจำ เพราะฉะนั้นรัฐบาลควรที่จะดูแลคนพวกนี้ให้ทั่วถึง ไม่ใช่เสร็จศึกฆ่าขุนพล
คลินิกหมอครอบครัว
กระทรวงสาธารณสุขปฏิรูประบบบริการสุขภาพ พลิกโฉมการดูแลประชาชน ยามเจ็บป่วย ทำงานเชิงรุกเข้าถึงประชาชน มี “คลินิกหมอครอบครัว” ที่มี “แพทย์เฉพาะทางด้านเวชศาสตร์ครอบครัว” ซึ่งเป็นแพทย์เฉพาะทางดูแลแบบองค์รวมทั้งกาย จิต สังคม สิ่งแวดล้อม คุณภาพชีวิต ทำงานร่วมกับ
สหสาขาวิชาชีพอื่นๆ ประกอบด้วย หมออนามัย พยาบาล ทันตแพทย์ เภสัชกร นักกายภาพบำบัด อสม. อสค.
เรียกว่า “ทีมหมอครอบครัว” โดย 1 ทีมจะดูแลประชาชน 10,000 คน
ให้บริการประชาชน ทุกคน ทุกอย่าง ทุกที่ ทุกเวลาด้วยเทคโนโลยี
บริการทุกคน คือ ดูแลตั้งแต่ตั้งครรภ์ วัยทารก วัยเด็ก วัยทำงาน
จนถึงผู้สูงอายุ
บริการทุกอย่าง คือ ส่งเสริมสุขภาพ ควบคุมป้องกันโรค รักษา
ฟื้นฟูสมรรถภาพ และคุ้มครองผู้บริโภค
บริการทุกที่ คือ ทำงานทั้งในคลินิกหมอครอบครัว และทำงานเชิงรุก ให้บริการที่บ้าน และชุมชน
บริการทุกเวลาด้วยเทคโนโลยี คือ ให้คำปรึกษาเรื่องการป้องกันรักษาสุขภาพผ่านทางสื่อออนไลน์ หรือในกรณีที่บาดเจ็บฉุกเฉิน สามารถ โทรสายด่วน 1669 ให้บริการฟรีตลอด 24 ชั่วโมงทั่วประเทศ
ต่อจากนี้…ประชาชนทุกคนจะมีหมอประจำตัวเสมือนญาติที่ดูแลกัน
ทั้งครอบครัว มีคลินิกหมอครอบครัวที่ใกล้บ้าน สะดวก รวดเร็ว
และที่สำคัญพี่น้องประชาชน คือ หุ้นส่วนกับทีมหมอครอบครัว
ที่ต้องร่วมดูแลสุขภาพของตนเองและชุมชนร่วมกัน
นอกจากการดูหัวข้อนี้แล้ว คุณยังสามารถเข้าถึงบทวิจารณ์ดีๆ อื่นๆ อีกมากมายได้ที่นี่: ดูบทความเพิ่มเติมในหมวดหมู่Tips